วันพฤหัสบดีที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
การรวมกันระหว่างไมโครแมคโคร
การวิเคาระห์การทับซ้อน
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีความสามารถในการนำข้อมูลเชิงพื้นฐาน หลายๆชั้น(themes,layers) มาซ้อนทับกัน (overlay) เพื่อทำการวิเคราะห์กำหนดเงื่อนไข ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้ยังสามารถสร้างแบบจำลองโดยการผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลที่ไม่ใช่เชิงพื้นที่เข้าด้วยกัน เพื่ออธิบายปรากฎการณ์ หรือปันหาที่ต้องการแก้ไขบางอย่าง
สามารถนำไปใช้ได้ทั้งข้อมูลเชิงเส้น และข้อมูลเชิงกริด ผลที่ได้จากการทับซ้อนสองชั้นขึ้นไป จะทำให้เกิดข้อมูลใหม่ขึ้นมาหนึ่งชั้นข้อมูล จะเกิดรูปหลายเหลี่ยมขึ้นภายในชั้นข้อมูล และยังมีข้อมูลเชิงคุณลักษณะเพิ่มขึ้นอีกด้วย
การวิเคราะห์การทับซ้อน สามารถนำหลักการของการคำนวณเลขคณิต และพินิจตรรกะมาใช้ในการพิเคราะห์ด้วย เพื่อจะคัดเลือกให้แสดงผลตามเงื่อนไขได้
การวิเคราะห์การทับซ้อนด้วยเงื่อนไขทางพีชคณิตแบบบูล (boolean algebra)
macro and micro ( แมคโคร และ ไมโคร) อินเตอร์เซคชั่น
macro not micro (แมคโคร ไม่ใช่ ไมโคร) ผลต่าง
macro or micro (แมคโคร หรือ ไมโคร) ยูเนียน
macro xor micro (แมคโคร และ/หรือ ไมโคร) คอมพรีเมนท์
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ มีความสามารถในการนำข้อมูลเชิงพื้นฐาน หลายๆชั้น(themes,layers) มาซ้อนทับกัน (overlay) เพื่อทำการวิเคราะห์กำหนดเงื่อนไข ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ นอกจากนี้ยังสามารถสร้างแบบจำลองโดยการผสมผสานข้อมูลเชิงพื้นที่ และข้อมูลที่ไม่ใช่เชิงพื้นที่เข้าด้วยกัน เพื่ออธิบายปรากฎการณ์ หรือปันหาที่ต้องการแก้ไขบางอย่าง
สามารถนำไปใช้ได้ทั้งข้อมูลเชิงเส้น และข้อมูลเชิงกริด ผลที่ได้จากการทับซ้อนสองชั้นขึ้นไป จะทำให้เกิดข้อมูลใหม่ขึ้นมาหนึ่งชั้นข้อมูล จะเกิดรูปหลายเหลี่ยมขึ้นภายในชั้นข้อมูล และยังมีข้อมูลเชิงคุณลักษณะเพิ่มขึ้นอีกด้วย
การวิเคราะห์การทับซ้อน สามารถนำหลักการของการคำนวณเลขคณิต และพินิจตรรกะมาใช้ในการพิเคราะห์ด้วย เพื่อจะคัดเลือกให้แสดงผลตามเงื่อนไขได้
การวิเคราะห์การทับซ้อนด้วยเงื่อนไขทางพีชคณิตแบบบูล (boolean algebra)
macro and micro ( แมคโคร และ ไมโคร) อินเตอร์เซคชั่น
macro not micro (แมคโคร ไม่ใช่ ไมโคร) ผลต่าง
macro or micro (แมคโคร หรือ ไมโคร) ยูเนียน
macro xor micro (แมคโคร และ/หรือ ไมโคร) คอมพรีเมนท์
วันอังคารที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551
เปลี่ยนแปลงด้วยทฤษฎีเซต
เซต (set) อาจมองได้ว่าเป็นการรวบรวมกลุ่มวัตถุต่างๆ ไว้รวมกันทั้งชุด
ตอนเริ่มแรกของ Beiträge zur Begründung der transfiniten Mengenlehre โดย เกออร์ก คันทอร์ (Georg Cantor) ผู้สร้างทฤษฎีเซตคนสำคัญ ให้นิยามของเซตเซตหนึ่งดังต่อไปนี้:[1]
โดย "เซต" เซตหนึ่ง เราหมายถึงการสะสมรวบรวมใดๆ ที่ให้ชื่อว่า M เข้าเป็นหน่วยเดียวกันทั้งหมด ของวัตถุที่ให้ชื่อว่า m ที่แตกต่างกัน (ซึ่งเรียกว่า "สมาชิก" ของ M) ตามความเข้าใจของเรา หรือตามความคิดของเรา
ดังนั้นสมาชิกของเซตเซตหนึ่งจึงสามารถเป็นอะไรก็ได้ เช่น ตัวเลข ผู้คน ตัวอักษร หรือเป็นเซตของเซตอื่น เป็นต้น
โดย "เซต" เซตหนึ่ง เราหมายถึงการสะสมรวบรวมใดๆ ที่ให้ชื่อว่า M เข้าเป็นหน่วยเดียวกันทั้งหมด ของวัตถุที่ให้ชื่อว่า m ที่แตกต่างกัน (ซึ่งเรียกว่า "สมาชิก" ของ M) ตามความเข้าใจของเรา หรือตามความคิดของเรา
ดังนั้นสมาชิกของเซตเซตหนึ่งจึงสามารถเป็นอะไรก็ได้ เช่น ตัวเลข ผู้คน ตัวอักษร หรือเป็นเซตของเซตอื่น เป็นต้น
การดำเนินการของเซต
ยูเนียน ของ A และ B คือเซตที่เกิดจากการรวบรวมสมาชิกของ A และ B เข้าไว้ด้วยกัน
อินเตอร์เซกชัน ของ A และ B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เหมือนกันของ A และ B
ผลต่าง A – B คือเซตที่ประกอบด้วยสมาชิกของ A ที่ไม่ใช่สมาชิกของ B
คอมพลีเมนต์ ของ A เขียนแทนด้วย A’ คือสับเซตของ U ที่ประกอบด้วยสมาชิกที่ไม่อยู่ ใน A
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)